Responsive CSS based content slider
.

    ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไชต์สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ยินดีให้บริการค่ะ/ครับ
การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ฯ
แผนภาพการเชื่อมโยงฯ
การขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ฯ
แผนภาพการเชื่อมโยง
   
 
 

ทำเนียบบุคลากร
 
 
   
ข้อมูลพื้นฐานอำเภอค้อวัง
 
แผนที่อำเภอ
 
ข้อมูลด้านการเกษตรของอำเภอค้อวัง
 
วิสาหกิจชุมชน
 
แผนปฏิบัติงาน/โครงการ

หมอพืชชุมชน
 
 
องค์ความรู้เกษตรกรอำเภอค้อวัง

องค์ความรู้วิสาหกิจชุมชนแม่บ้านเกษตรกร
บ้านจานทุ่ง หมู่6 ตำบลน้ำอ้อม

องค์ความรู้การส่งเสริมการเกษตร
นางสาวศิริรัตน์ ชูรัตน์ นวส.ชำนาญการ

Smart Farmer ต้นแบบด้านการเกษตร
นางศศิธร ประจวบสุข

Smart Farmer ต้นแบบด้านการสร้างตลาดออนไลน์
นางสาวรุณี  เพชรแสนค่า

Smart Farmer ต้นแบบการบริหารจัดการพื้นที่
นางสาวอรวรรณ ทองแสง

Smatr Farmer ด้านการปลูกข้าวไรซ์เบอร์รี่อินทรีย์
นายสุรินทร์ อยู่ทอง

Smart Farmer ต้นแบบ ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ นางกัญญาณัฐ  นามสกุล ธรรมสูตร

Smart Farmer ต้นแบบ ด้านการผลิตข้าวอินทรีย์ นายสุวรรณ  สิมมา

ด้านอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม)

ต้นแบบ อกม นายยอด รัตนวงศ์

ศูนย์เรียนเรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
สินค้าเกษตร (ศพก.) อำเภอค้อวัง

ศพก.ศูนย์หลักอำเภอค้อวัง นายสุวรรณ สิมมา

ศพก.เครือข่ายอำเภอค้อวัง

องค์ความรู้ smart Farmer

 

 
 
เกษตรค้อวัง บนยูทูบ
 
สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
 
 
 
 
 
Map
What is Thailand 4.0?
    Thailand 4.0 is an economic model that aims to unlock the country from several economic challenges resulting from past economic development models which place emphasis on agriculture (Thailand 1.0), light industry (Thailand 2.0), and advanced industry (Thailand 3.0). These challenges include “a middle income trap”, “an inequality trap”, and “an imbalanced trap”.
 
smart farmer

Smart Farmer is a name that is used in many contexts. since the application of technology in conjunction with agriculture in the Royal Initiative Project until the work of farmers in the new era, both Thai and international In the future, this type of farming will definitely increase.

What is Smart Farmer?
    Smart Farmer is a farmer who has applied technology and digitalization, innovation, data or new business ideas. to drive the efficiency of their own production as much as possible under the most suitable budget
     Many people understand that the work of Smart Farmer is far-fetched, but in reality this is not so. Using smart devices and applications to collect agricultural data Optimal production and cultivation calculations It's the first step of Smart Farmer.
     The Smart Farmer concept expands even further. Due to the development of technology and digital systems that makes various devices related Whether it's IoT devices, Big Data applications, drone applications or using various forms of robots Together with agriculture, it is easier to find. lower cost

 
ASEAN Economic Community (AEC)
    We are ready to develop into AEC, for sustainable and far-flung development, and to create a single market and production base within ASEAN. The AEC will allow for the free movement of goods, services, skilled labor, and investment among the 10 ASEAN member nations and to facilitate the freer flow of capital.
We have a finish line, and we are to go there!
 

Welcome to our district.
(Travel Informations)

If you want a small and peaceful town to relax or travel. We recommend you. Kho Wang is the city you are looking for.
I guarantee you will not be disappointed!

Kho Wang is a district of Yasothon province. Located at the southern end of the province.
Kho Wang is a district separated from Amphoe Chanachai, established as a sub-district Kho Wang on June 2, 1975, divided into 3 sub-districts, 1.Tambon Fa Huan, 2.Tambon Kut Nam Sai, 3.Tambon Nam Om, A total of 30 villages.

Later upgraded to district on the 26th. March B.E. 2522 and divided the administrative area at that time into 4 sub-districts, 1.Tambon Fa Huan, 2.Tambon Kud Nam Sai, 3.Tambon Nam Om and 4.Tambon Kho Wang.

Kho Wang is a district in the south of Yasothon province in northeastern Thailand. Kho Wang District has tourist attractions and agricultural markets. a small district, but there are many things that are interesting.

 
6 Top-Rated Tourist Attractions in Kho Wang.
1. Don That Archaeological Site
2. 1,000 Years of Bai Sema, Wat Ban Pao
3. Ancient Sims, Ban Khae Temple
4. Ancient Sims, Ban Fa Huan Nuea Temple
5. City Pillar Shrine, Kho Wang District
6. Luang Pu Wang Romyen, Wat Ban Kho wang
Kho Wang District Agriculture Office, Address : 3 Moo 11, Kho Wang subdistrict, Kho wang district, Yasothon province Thailand 35160
 
If you have any questions or for more information don't hesitate to contact us.
Phone. : 045 - 797 057
E-Mail : khowang@doae.go.th
 

 

 

 

 

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ตลาดเกษตรและสหกรณ์
คลังข้อมูลการวิจัยการเกษตรไืทย
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เกษตรดิจิทัล
สำนักเลขาธิการอาเซียนแห่งชาติ
 
กรมส่งเสริมวิสาหกิจขนาดเล็ก
กรมพัฒนาที่ดิน
 
สูนย์ข้อมูลเกษตรแห่งชาติ
 
ศูนย์เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลภาครัฐ
ธนาคาร ธ.ก.ส.
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)

ผลิตภัณฑ์ของอำเภอค้อวัง

 

ผลิตภัณฑ์แปรรูปจากถั่วลิสง
ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสังข์ตำบลกุดน้ำใส
สนใจติดต่อ นางลำพูล รักศิลป์ โทร.062-8325025

 

ผลิตภัณฑ์ทอผ้า และน้ำยาล้างจาน
ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านจานทุ่ง ตำบลน้ำอ้อม
สนใจติดต่อ นางสมาน ทองสา โทร.088-0718352

 

ผลิตภัณฑ์ทอผ้า ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านฟ้าห่วน
หมู่ 8 ตำบลฟ้าห่วน
สนใจติดต่อ นางเคี่ยม อินทร์พิมพ์ โทร.093-1030773

 

ผลิตภัณฑ์ทอผ้า ของกล่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านดงมะหรี่
หมู่ 2 ตำบลค้อวัง
สนใจติดต่อ นางสาวสำราญ ขันเงิน
โทร.065-5380383

 
สถานที่น่าสนใจของอำเภอค้อวัง

หอศิลป์ เดอะ แด็ก
the Dinosaur Art Gallery
Artist studio and creative design office.

Address: 48 Moo 12, Ban Nong Sam, Kho Wang District, Yasothon 35160
Tell: 081 303 4493

บ้านไร่กาแฟ Ban Rai Coffee
สถานที่พักค้างคืน มีร้านกาแฟ+อาหาร
Overnight accommodation with coffee shop + food.

Address: 246 Moo 4, Kut Nam Sai, Kho Wang District, Yasothon 35160
Tell: 098 274 6910

สวนโฮมฮัก Home Hug Garden
โคกหนองนาโมเดล เกษตรผสมผสานครบวงจร
Khok Nong Na Model: Integrated Farming.

Address: Fa Huan, Kho Wang District, Yasothon 35160
Tell: 065-315 1553 (พี่ต่าย อรวรรณ)
คำขวัญอำเภอค้อวัง
"ค้อวังเมืองน่าอยู่ ถิ่นหลวงปู่มหาแปลง แหล่งข้าวปลาลุ่มน้ำชี ประเพณีล้วนงดงาม เลืองลือนามผลิตภัณฑ์"
     สวัสดีค่ะ ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์เกษตรค้อวังนะคะ เราได้รวมข้อมูลเพื่อการศึกษาด้านเกษตรไว้มากมาย มีทั้งภาพนิ่งและวิดีโอเคลื่อนไหว ให้ท่านได้เห็นภาพชัดยิ่งขึ้น และนำไปสู่การเรียนรู้ พัฒนาต่อยอดการเกษตรของท่านต่อไป เรามุ่งหวังสู่การพัฒนาข้อมูลข่าวสารเต็มรูปแบบ เพื่อให้เกิดประโยช์แก่พี่น้องเกษตรกรของเราทุกพื้นที่ ขอขอบคุุณที่แวะเวียนมาเยี่ยมเว็บไซต์ของเรานะคะ

ขอบคุณคะ
ทีมงานเกษตรอำเภอค้อวัง


| อย่าลืมขึ้นทะเบียนเกษตรกรนะคะ..!!

ประวัติอำเภอค้อวัง
     เดิมพื้นที่ตั้งของตัวอำเภอค้อวัง คือ "บ้านโนนค้อ" อยู่ในเขตตำบลฟ้าห่วน อำเภอมหาชนะชัย ต่อมามีพระภิกษุรูปหนึ่งชื่อ "วัง" เดินทางมาจากอำเภอกันทรารมย์ จังหวัดศรีสะเกษ ได้มาบำเพ็ญพรตอยู่ที่บ้านโนนค้อ พระภิกษุรูปนี้เป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของประชาชนในหมู่บ้านและหมู่บ้านใกล้เคียงเป็นอย่างยิ่ง ราษฏรจึงอพยพมาตั้งบ้านเรือนอยู่ที่บ้านโนนค้อ เป็นกลุ่มเป็นก้อนและใช้ชื่อหมู่บ้านใหม่ว่า "บ้านค้อวัง" จนกระทั่งปัจจุบัน

 

    ต่อมาท้องที่อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร มีอาณาเขตกว้างขวาง แบ่งการปกครองออกเป็น 11 ตำบล 108 หมู่บ้าน การปกครองไม่ทั่วถึง โดยเฉพาะท้องที่ตำบลฟ้าห่วน ตำบลกุดน้ำใส และตำบลน้ำอ้อม อีกทั้ง 3 ตำบลนี้ระยะทางห่างไกลจากที่ตั้งอำเภอ การคมนาคมติดต่อกับอำเภอไม่สะดวกและลำบาก มีโจรผู้ร้ายชุกชุม เพื่อแบ่งภาระการปกครองและเป็นการพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญยิ่งขึ้น เพื่อคุ้มครองสวัสดิภาพและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน จึงได้ขอแยกจากอำเภอมหาชนะชัยตั้งเป็นกิ่งอำเภอค้อวัง เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พุทธศักราช 2518 แบ่งการปกครองออกเป็น 3 ตำบล คือ ตำบลฟ้าห่วน ตำบลกุดน้ำใส ตำบลน้ำอ้อม รวมทั้งสิ้น 30 หมู่บ้าน ต่อมาได้ยกฐานะเป็นอำเภอเมื่อวันที่ 26 มีนาคม พุทธศักราช 2522 และได้แบ่งเขตการปกครองในขณะนั้นออกเป็น 4 ตำบล คือ ตำบลฟ้าห่วน ตำบลกุดน้ำใส ตำบลน้ำอ้อม และตำบลค้อวัง

หลวงปู่มหาแปลง ปคุโณ เป็นพระสงฆ์ผู้มีบทบาทมากมายในการจัดตั้งอำเภอค้อวัง เป็นผู้ร่วมวางแผนการออกแบบผังเมือง และเป็นผู้นำฝ่ายสงฆ์ที่ทุกคนให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก มีลูกศิษย์ลูกหาผู้เลื่อมใสศรัธาทั่วประเทศไทย ปัจจุบัน มีประเพณีงานนมัสการหลวงปู่มหาแปลง ที่จัดขึ้นเดือนธันวาของทุกปี


หลวงปู่มหาแปลง ปคุโณ วัดบ้านเปาะ อ.ค้อวัง จ.ยโสธร อดีตเจ้าอาวาสวัดบ้านเปาะ และ วัดป่าลำดวน อ.ค้อวัง จ.ยโสธร พระผู้มีคุณูปการแก่อำเภอค้อวัง พระผู้เคร่งครัดในพระธรรมวินัยเป็นยิ่งนัก จึงมีผู้เลื่อมใสศรัทธามากมาย อ่านต่อคลิกที่นี่..


    ค้อวัง เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดยโสธร โดยเป็นอำเภอที่ตั้งอยู่ทิศใต้สุดของจังหวัด อำเภอค้อวังตั้งอยู่ทางทิศใต้สุดของจังหวัด มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับ อำเภอมหาชนะชัย
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อำเภอเขื่องใน (จังหวัดอุบลราชธานี)
ทิศใต้ ติดต่อกับ อำเภอยางชุมน้อยและอำเภอราษีไศล (จังหวัดศรีสะเกษ)
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อำเภอราษีไศล (จังหวัดศรีสะเกษ) และอำเภอมหาชนะชัย อ่านต่อคลิกที่นี่..
ติดตามเราได้ที่ช่องทาง :                 

 
 

มาทำความรู้จัก…หมอพืชชุมชน
หมอพืชชุมชน คือ เกษตรกรผู้ผ่านหลักสูตรหมอพืชชุมชนอบรมด้านการวินิจฉัยและจัดการศัตรูพืชเบื้องต้น โดยเฉพาะในพืชเศรษฐกิจของพื้นที่
เราเกษตรอำเภอค้อวัง ได้รับความอนุเคราะห์จิตอาสาจากพี่ๆ น้องๆ เกษตรกรค้อวัง ร่วมมือร่วมใจขับเคลื่อนการเกษตรอย่างมีระบบแบบแผน ตามโครงการต่างๆ ของภาครัฐด้วยดีเสมอมา ขอขอบคุณหมอพืชชุมชนทุกท่านที่สละเวลาอันมีค่ามาช่วยขับเคลื่อนการเกษตรของเราให้มีศักยภาพยิ่งๆ ขึ้นไป

ขอบคุณมากๆ คะ      อ่านต่อคลิกที่นี่..

       
     

ทีมงาน หมอพืชชุมชนของเราชาวค้อวังคะ

       

แผนพัฒนา อ.ค้อวัง ปี66-70

- แผนพัฒนาการเกษตรระดับอำเภอค้อวังจังหวัดยโสธร ประจำปี 2566-2570

แผนพัฒนา อ.ค้อวัง ปี66-70

- แบบรายงานการวิเคราะห์สถานการณ์ อ. ค้อวัง ปี 68

 
ดาวน์โหลดโปรแกรมเปิดเอกสาร
Adobe Acrobat Reader DC (ดาวน์โหลดโปรแกรมอ่านไฟล์ PDF เปิดไฟล์ PDF ไฟล์เอกสาร)



  เรื่องเล่า ข่าวเกษตร ทุกเรื่องเล่า มีความหมาย ทุกความเคลื่อนไหว ในแวดวงเกษตร คือหัวใจของเรา... เกษตรอำเภอค้อวัง ได้รับความอนุเคราะห์จาก " เรื่องเล่าข่าวเกษตร " ลงข่าวประชาสัมพันธ์ให้ที่เพจ ขอขอบคุณมากๆ ในความช่วยเหลือที่ผ่านมาค่ะ
  ติดตามการเก็บเกี่ยวผลผลิตแปลงใหญ่หอมแดง ตำบลฟ้าห่วน
  เกษตรกรยโสธรคึกคัก’หอมแดง’แปลงใหญ่ออกตลาด ชี้ราคาปีนี้ดีกว่าปีที่ผ่านมา
  หยุดเผาแล้วดีอย่างไร ?
  สนับสนุนเกษตรกรปลูกพืชใช้น้ำน้อยสร้างรายได้ช่วงฤดูแล้ง
  วันถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ ( Field day ) ปี 2566
   
   
     
  สยามรัฐ ออนไลน์ เกษตรอำเภอค้อวัง ให้ความสำคํญกับการสื่อสารไปยังเกษตรกรทุกพื้นที่ จึงได้ลงข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์สยามรัฐออนไลน์ เพื่อเผยแผ่ข่าวสารในวงกว้างให้ถึงเกษตรกรผู้สนใจข้อมูลทางการเกษตร เพื่อเป็นแรงจูงใจและแรงผลักดันขับเคลื่อนการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกร ให้เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามยุคสมัยของการเรียนรู้จากสื่ออินเตอร์เน็ตไรัพรมแดนในปัจจุบัน
    เกษตรอำเภอค้อวัง ตรวจเยี่ยมเกษตรกรเลี้ยงพืชน้ำไข่ผำ Super Food สร้างรายได้ครอบครัว
    อำเภอค้อวัง นำร่อง kick off ไถกลบตอซังข้าวแทนการเผาในพื้นที่การเกษตร ป้องกันฝุ่นละออง PM 2.5
    เกษตรอำเภอค้อวังส่งเสริมเกษตรกรพลิกพื้นที่น้ำท่วมปลูกผักก้านจองจำหน่ายเดือนละ10,000-15,000 บาท
    เกษตรอำเภอค้อวัง ลงพื้นที่ติดตามการเก็บเกี่ยวผลผลิตแปลงใหญ่หอมแดง ตำบลฟ้าห่วน
    เกษตรอำเภอค้อวัง อบรมเกษตรกรทุ่งกุลาร้องไห้ ใช้จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
    เกษตรอำเภอค้อวัง จับมือกับ สวทช. พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตผักระบบเกษตรอินทรีย์ฯ พื้นที่ทุ่งกุลาร้องไห้
    เกษตรอำเภอค้อวัง ส่งเสริมเกษตรกรกลุ่มแปลงใหญ่ ปลูกหอมพันธุ์ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
    เกษตรอำเภอค้อวัง จ.ยโสธร ส่งเสริมอาชีพคนรุ่นใหม่เลี้ยงปลาไหลในบ่อซีเมนต์
    เกษตรอำเภอค้อวัง ส่งเสริมเกษตรกรกลุ่มแปลงใหญ่ ปลูกหอมพันธุ์ลดต้นทุนการผลิตและเพิ่มรายได้
    เกษตรอำเภอค้อวังส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชนตามแนวทางพระราชดำริฯ
   
     
 

ประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างปรับปรุงบ้านพักข้าราชการสำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566 22/09/65
ประกาศ ประกวดราคาจ้างก่อสร้างด้วยการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bidding) การจ้างก่อสร้างปรับปรุงบ้านพักข้าราชการ สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ตำบลค้อวัง อำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร 20/10/65

ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา ประกวดราคาจ้างก่อสร้างปรับปรุงบ้านพักข้าราชการ สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร ด้วยวิธีการประกวดราคาอิเล็กทรอนิกส์ (e-bridding) 7/11/65

ประกาศสำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ช่องทางอิเล็กทรอนิกส์สำหรับติดต่อสำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง กรมส่งเสริมการเกษตร พ.ศ.2566
คำสั่งสำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ที่03/2566 เรื่องระบบสำหรับการปฏิบัติหน้าที่โดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
   
   

คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
คลิกเพื่อขยาย
อัพเดทเมื่อ: 5 มิถุนายน 2568
| ดูแผ่นข่าวประชาสัมพันธ์ปี 2568


ประสิทธิภาพและผลผลิตทางการเกษตร
ได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน ซึ่งต้องขอบคุณการนำเทคโนโลยีขั้นสูงมาใช้ ตัวอย่างเช่น ปัญญาประดิษฐ์ (AI) ได้ช่วยอำนวยความสะดวกในการสร้างระบบวิเคราะห์เชิงทำนายที่สามารถคาดการณ์ความต้องการของพืชผลได้ ตั้งแต่การระบุศัตรูพืชในระยะเริ่มต้นไปจนถึงการปรับสารอาหารในดินให้เหมาะสม ซึ่งช่วยให้เกษตรกรสามารถใช้มาตรการป้องกันแทนที่จะใช้มาตรการเชิงรับ ส่งผลให้พืชผลมีสุขภาพดี และผลผลิตที่ดีขึ้น

Drone Technology
A drone refers to an aerial vehicle that receives remote commands from a pilot or relies on software for autonomous flight. Many drones display features like cameras for collecting visual data and propellers for stabilizing their flight patterns.

เทคโนโลยีโดรน
โดรน หมายถึง ยานพาหนะทางอากาศที่รับคำสั่งจากระยะไกลจากนักบินหรืออาศัยซอฟต์แวร์เพื่อการบินอัตโนมัติ โดรนหลายรุ่นมีคุณสมบัติ เช่น กล้องสำหรับรวบรวมข้อมูลภาพและใบพัดสำหรับรักษาเสถียรภาพของรูปแบบการบิน สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง ได้พัฒนามุมมองในการผลิตสื่อมัลติมีเดีย โดยใช้โดรนถ่ายภาพมุมสูงเพื่อให้พี่น้องเกษตรกรได้มุมมองที่รอบด้าน ในพื้นที่จัดงานต่างๆ ให้ได้ประสิทธิภาพสูงสุดในการสื่อถึงกลุ่มเป้าหมายเกษตกร เราเจ้าหน้าที่เกษตรอำเภอค้อวัง จะพยายามพัฒนาศักยภาพทุกๆ ด้านเพื่อให้พี่น้องเกษตรกรได้ความรู้ยิ่งๆ ขึ้นไป

 
 
 

การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรด้วย BCG Model แบบบูรณาการเชิงพื้นที่

BCG
     
 
 

สวัสดีค่ะ พี่น้องเกษตรกรที่รักทุกท่านคะ เพื่อความรวดเร็วในการรับรู้ข่าวสาร และข้อมูลการเกษตรที่เป็นประโยชน์ต่างๆ ของเราชาวอำเภอค้อวัง และพื้นที่อื่นๆ เรามี Facebook page ที่ใช้แชร์ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ทุกวัน....

 

อย่าลืมกดติดตามนะคะ

     
     
 
 
 

YouTube แพลตฟอร์มวิดีโอหลักของคนไทยเป็นที่นิยมกันมาก จะเห็นได้ว่าแพลตฟอร์มนี้ นอกจากจะให้ความบันเทิงกับผู้เข้าชมแล้ว ก็ยังเป็นช่องทางสร้างโอกาสขาย และการสร้างรายได้ด้วย เกษตรค้อวัง จึงเห็นความสำคัญในการใช้ YouTube เพื่อเป็นช่องการการเข้าถึงพี่น้องเกษตรกรของเรา ในรูปแบบวิดีโอซึ่งทำให้เข้าใจได้ง่ายมากยิ่งขึ้นด้วยการเห็นภาพเคลื่อนไหวและเสียงพูดอธิบายไปพร้อมๆ กัน เราเน้นเนื้อหาที่เกิดประโยชน์ สรุปให้กระชับ และให้เกษตรกรทุกท่านที่เข้าชม ได้รับความรู้และเพลิดเพลินไปด้วยในเวลาเดียวกัน...


      เกษตรค้อวัง ลงพื้นที่ประเมินผลผลิตข้าวนาปี ปีการผลิต 2567/68
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด

      สรุปภาพรวมความเสียหายในพื้นที่การเกษตร ของเกษตรกรอำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด
   
      Farmer field school day อำเภอค้อวัง จังหวัดยโสธร
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด
   
      เกษตรอำเภอค้อวัง เชิญชวนเกษตรกรขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผ่านแอปพลิเคชั่น Farm book
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด
   
      วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบ้านสังข์ ต.กุดน้ำใส อ.ค้อวัง จ.ยโสธร
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด
   
      อบรมความรู้พื้นฐานด้านการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด
   
      สาระดีๆ กับ เกษตรอำเภอค้อวัง เทคนิคง่ายๆกับการขยายพันธุ์ ด้วยวิธีการตอนกิ่ง
 
  ดูวิดีโอทั้งหมด


 
คลังข้อมูลการวิจัยการเกษตรไทย
 
คลังข้อมูลการวิจัยการเกษตรไทย
แหล่งรวบรวมงานผลงานวิจัยและความรู้ด้านการเกษตรที่มาจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ เพราะ TARR เชื่อมต่อกับหน่วยงานเจ้าของข้อมูลโดยตรง..
 

 
Mobile Application
     
  กรมวิชาการเกษตร โดยคณะทำงานจัดการองค์ความรู้ รู้จริงเรื่องพืชกับกรมวิชาการเกษตร เผยแพร่องค์ความรู้ด้านการผลิตพืชสู่เกษตรกรและผู้ที่สนใจ ผ่านทางแอพพลิเคชั่นมือถือ ซึ่งท่านสามารถโหลดติดตั้งไว้ใช้งานได้สะดวกรวดเร็ว ...  
     

 
สมุดทะเบียนเกษตรกรดิจิทัล (DOAE Farmbook application)
 

สมุดทะเบียนเกษตรกร เป็นการระบุตัวตนและให้ข้อมูลกับกรมส่งเสริมการเกษตร หน่วยงานรัฐที่มีบทบาทในการรับข้อมูลและปรับปรุงทะเบียนของเกษตรกรไทย โดยการขึ้นทะเบียนจะช่วยให้สิทธิประโยชน์ในฐานะเกษตรกร และข้อมูลเหล่านี้จะช่วยให้ภาครัฐทราบปริมาณผลผลิต และแหล่งผลิต เพื่อใช้บริหารจัดการการจำหน่าย การกระจายสินค้า และกำหนดราคาได้อย่างเหมาะสม
สมุดทะเบียนเกษตรกรแบบดิจิตอล DOAE Farmbook แอปพลิเคชันโดยรัฐบาลที่เปลี่ยนการพกพาสมุดทะเบียนแบบเดิมให้สะดวกขึ้น ไม่ต้องกลัวหายหรือลืมเมื่อพบสำนักงานเกษตรอำเภอ ภายในแอปพลิเคชัน ผู้ใช้จะสามารถ Log in ได้ด้วยรหัสที่ลงทะเบียนไว้ที่สำนักงานเกษตรอำเภอ...

   

 
เกษตรดิจิทัล
  เกษตรดิจิทัล คือ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อบูรณาการการผลิตทางการเกษตรไปสู่ผู้บริโภค เทคโนโลยีเหล่านี้ยังสามารถเป็นข้อมูลและเครื่องมือในการทำอุตสาหกรรมการเกษตรเพื่อช่วยการตัดสินใจและเพิ่มผลผลิตที่มากขึ้น  
  เกษตรดิจิทัล เป็นการใช้ประโยชน์จากการเก็บข้อมูลด้านการเกษตรต่างๆ ทั้ง สภาพดิน สภาพน้ำ อุณหภูมิ ความชื้น ปริมาณแสง พื้นที่เพาะปลูก สถานการณ์เจริญเติบโต ฯลฯ เทคโนโลยีภาพถ่ายดาวเทียม นำมาช่วยเรื่องการปลูกพืชและช่วยทำให้การเพิ่มผลผลิตที่สูงขึ้น โดยนำอุปกรณ์ที่ติดตั้งโปรแกรมไว้สำหรับอัตราการเพาะเมล็ดและความลึกที่ผันแปรตามคุณสมบัติของดินและข้อมูลความชื้น ซึ่งได้มาจากภาพถ่ายดาวเทียมมาช่วยแก้ปัญหาในเรื่องนี้ได้  
 
ดาวน์โหลดโปรแกรม
 

 
แอพพลิเคชั่น “ฟาร์ม D” ตัวช่วย”เกษตรกรไทย”
 
แอพพลิเคชั่น “ฟาร์ม D” ตัวช่วย”เกษตรกรไทย”
แอปพลิเคชัน (Application) ชื่อ "ฟาร์ม D"
 

การปรับเปลี่ยนวิถีทำการเกษตร โดยนำเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาปรับใช้ในการผลิต การตลาด แทนการทำเกษตรแบบดั้งเดิมกำลังเป็นกระแสที่เกิดขึ้นในวงกว้าง โดยเฉพาะในยุคดิจิตอลที่โลกถูกย่อให้เล็กลง ข้อมูลข่าวสารแพร่กระจายถึงกันอย่างรวดเร็ว สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐที่ต้องการยกระดับเกษตรกรไทยให้ก้าวสู่การทำเกษตรสมัยใหม่ หรือ Smart Farmer ด้วยการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาใช้เป็นเครื่องมือกลไกลดความเสี่ยงจากการทำการเกษตรโดยพึ่งพาธรรมชาติ ช่วยลดต้นทุน สร้างรายได้และมูลค่าเพิ่ม ขณะเดียวก็เปิดโลกทัศน์จากข้อมูลข่าวสารซึ่งสื่อสารถึงกันแค่ชั่วพริบตา ทำให้สามารถปลูกพืช เลี้ยงสัตว์ ทำการประมง เพื่อให้สอดรับกับความต้องการของตลาด

แม้ค่อนข้างยากและท้าทาย แต่ถือเป็นโอกาสและทางออกที่เกษตรกรไทยในการพลิกอนาคตใหม่ โดยนำเทคโนโลยีดิจิตอลมาเป็นส่วนหนึ่งในการแก้ไขปัญหาราคาสินค้าเกษตรตกต่ำ ควบคู่กับสร้างช่องทางการตลาด ทำให้เกษตรกรมีรายได้อย่างมั่นคงยั่งยืนในวันข้างหน้า

 
 

 
6 เทรนด์ “AgTech” เปลี่ยนอนาคต “การเกษตร” ไทย
 

การทำเกษตรยุคใหม่ที่กำลังเป็นเทรนด์ไปทั่วโลกนั้น เต็มไปด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรมากมาย ซึ่งถูกนำมาใช้พัฒนาวิถีการทำการเกษตร อำนวยความสะดวกให้กับชีวิตของเกษตรกรยุคใหม่ (Smart Farmer) แทบทุกด้าน รวมถึงช่วยแก้ปัญหาทั้งด้านพื้นที่การเกษตรที่ลดลงเพราะการขยายตัวของสังคมเมือง สภาพดินฟ้าอากาศที่เอาแน่เอานอนไม่ได้ จำนวนเกษตรกรที่น้อยลง ผลกระทบจากภัยพิบัติ ฯลฯ เพื่อให้พวกเรายังคงมีผลผลิตเพียงพอต่อความต้องการบริโภคได้ แล้วเราจะเห็น “นวัตกรรมการเกษตรสมัยใหม่” แบบไหนเกิดขึ้นในประเทศไทยบ้าง ? วันนี้ NIA ได้รวบรวมเทรนด์ด้านนวัตกรรมการเกษตรที่เหมาะสมกับประเทศไทย เพื่อเป็นไอเดียให้เกษตรกร และผู้ประกอบการนวัตกรรม ได้นำไปพัฒนาการทำการเกษตร และสร้างโอกาสใหม่ๆ ให้กับธุรกิจที่เกี่ยวข้อง

 
 

 
7 วิถี ‘เกษตรนวัตกรรม’ รับคนไทยกลับถิ่นฐานสร้างอาชีพใหม่ ยุค Post-covid
7 วิถี ‘เกษตรนวัตกรรม’ รับคนไทยกลับถิ่นฐานสร้างอาชีพใหม่ ยุค Post-covid
  1. เทคโนโลยีทางชีวภาพทางการเกษตร
  2. เกษตรดิจิทัล
  3. การจัดการฟาร์มรูปแบบใหม่
  4. หุ่นยนต์ช่วยดูแลการเกษตร
  5. บริการทางธุรกิจเกษตร
  6. การจัดการหลังจากการเก็บเกี่ยวและขนส่ง
  7. ไบโอรีไฟนารี่
 

 
Smart Farming ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตให้เกษตรกร
Smart Farming ลดต้นทุน เพิ่มผลผลิตให้เกษตรกร
 

    Smart Farming หรือ การจัดการการเกษตรแบบอัจฉริยะ ที่นำเทคโนโลยีต่างๆ เข้ามาช่วยในการผลิตภาคการเกษตร กลายเป็นประเด็นที่หลายภาคส่วนให้ความสนใจ ซึ่งถูกระบุไว้ในนโยบายการพัฒนาประเทศไทย 4.0
    โดยหัวใจหลักคือการนำเอาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้เพื่อการจัดการและเพิ่มผลผลิตภาคการเกษตร เพื่อลดการสูญเสียทรัพยากรและใช้ปัจจัยต่างๆ ได้คุ้มค่า เกิดความแม่นยำสูง(Precision Agriculture) ในการดำเนินการ ซึ่งยังคงมีความซับซ้อนที่เข้าถึงเกษตรกรได้ยากในช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ด้วยปัจจัยด้านราคาที่ยังคงสูงเกินเอื้อมถึง และตัวเกษตรกรเองยังขาดความเข้าใจในเทคโนโลยีที่ซับซ้อน แต่ใช่ว่าจะไม่ตอบรับเทคโนโลยีใดๆ เลย...


 
แผนพัฒนาการเกษตร
 
แผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564)
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้จัดทําแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ซึ่งเป็นภารกิจตาม พระราชบัญญัติเศรษฐกิจการเกษตร พ.ศ. 2522 โดยมีการระดมความคิดเห็นจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม เกษตรกร สถาบันการศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิ ทั้งในส่วนกลางและภูมิภาค และเมื่อวันที่ 22 กรกฎําคม 2559 คณะกรรมการนโยบายและแผนพัฒนาการเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งมี รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธาน ผู้แทนกระทรวงที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารระดับสูงของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิผู้แทนเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป็นกรรมการ ได้ให้ความเห็นชอบต่อแผนพัฒนาการเกษตร ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเก๋ตรอิรทรีย์แห่งชาติ
 
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ 2560-2564
เกษตรอินทรีย์เป็นแนวทางการผลิตที่ให้ความสำคัญกับคุณภาพ และความปลอดภัยอาหารของผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งผู้ผลิต ผู้บริโภค รวมทั้ง การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้อง กับกระแสโลกในปัจจุบัน รัฐบาลได้เห็นความสำคัญในการผลักดัน เรื่องนี้ โดยคณะรัฐมนตรีมีมติมอบหมายให้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นหน่วยงานหลัก ในการจัดทำยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์ แห่งชาติ พ.ศ. 2560 - 2564 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ แห่งชาติ เพื่อเป็นกรอบในการขับเคลื่อนการพัฒนาเกษตรอินทรีย์ของ ประเทศไทยต่อเนื่องจากแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2551 - 2554
 

 
หลวงปู่วังร่มเย็น
หลวงปู่วังร่มเย็น
(Luang Pu Wang Romyen, Wat Ban Kho wang)
บ้านค้อวังและหลวงปู่วัง ที่เป็นชื่อของอำเภอค้อวัง ณ วัดบ้านค้อวัง หรือโนนค้อในอดีต โนนค้อชุมชนโบราณทับซ้อนยุคสมัย จนมาถึงบรรพบุรุษยุคหลวงปู่วัง หลวงปู่แปลง ผู้สร้างค้อวังให้เป็นเมืองน่าอยู่อย่างเช่นปัจจุบัน นักท่องเที่ยวและผู้ผ่านไปมา จึงแวะกราบสักการะหลวงปู่วังร่มเย็น พระคู่บ้านคู่เมืองของอำเภอค้อวังมิได้ขาด

   
ศาลหลักเมืองค้อวัง
ศาลหลักเมืองอำเภอค้อวัง
(City Pillar Shrine, Kho Wang District)
ศาลหลักเมืองค้อวัง อ.ค้อวัง รูปแบบเป็นศาลาจตุรมุขทรงไทย มีทางขึ้น 3 ด้าน ด้านหลังก่อผนังทึบและสร้างฐานชุกชีไว้เพื่อวางพระพุทธรูปและวัตถุมงคลต่างๆ รวมทั้งรูปปั้นหลวงปู่มหาแปลง ทำการวางศิลาฤกษ์โดยหลวงปู่มหาแปลง ปคุโณ ผู้มีคุณูปการมากมายแก่ชาวค้อวัง อีกทั้งท่านยังเป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ร่วมวางผังอำเภอค้อวังด้วย โดยแยก ฝั่งศูนย์ราชการและฝั่งชาวบ้านอยู่อาศัยไว้คนละฝากถนน เพื่อง่ายต่อการพัฒนาและดูแลรักษา......

       
สิมโบราณวัดบ้านฟ้าห่วนเหนือ
สิมโบราณวัดบ้านฟ้าห่วนเหนือ
(Ancient Sims, Wat Ban Fa Huan Nuea)
สิมหรืออุโบสถโบราณวัดฟ้าห่วนเหนือ ต.ฟ้าห่วน อ.ค้อวัง จ.ยโสธร รูปแบบเป็นสิมก่ออิฐถือปูนผสมไม้ ส่วนที่เป็นปูน ฐาน ผนัง เสา ต่างๆ สภาพสมบูรณ์มาก หากแต่หลังคาโครงไม้มุงสังกะสีชำรุดผุพังเป็นอย่างมาก รูปแบบสิมเป็นลักษณะผสมผสานศิลปะอีสานพื้นบ้านและเชิงช่างญวน ถือว่าเป็นสิมที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ผนังหนา การประดับประดาด้วยปูนปั้นลายพญานาค ลายดอกผักแว่นประดับกระจก ปัจจุบันได้อนุรักษ์งานครูช่างโบราณไว้ ให้ลูกหลานได้ศึกษาสืบไป...

       
สิมโบราณวัดบ้านแข่
สิมโบราณวัดบ้านแข่
(Ancient Sims, Wat Ban Khae)
สิมปูนผสมไม้ หลังเล็กๆ สร้างปี พ.ศ 2504 อายุ 59 ปี ยังไม่ทราบประว้ติแน่ชัด งานปูนต่างๆ น่าจะบูรณะในภายหลัง โดยฉาบก่อทับ ส่วนงานไม้ คือ คันทวย 6 คู่ อ.ค้อวัง สิมเก่าๆ แทบจะไม่หลงเหลือให้เห็นแล้ว มีอีกที่หนึ่ง คือ วัดฟ้าห่วนเหนือ... อย่าลืมแวะชมนะครับ

       
ใบเสมาพันปี วัดบ้านเปาะ
ใบเสมาและหลักเสมาพันปี วัดบ้านเปาะ
(1,000 Years of Bai Sema, Wat Ban Pao)
ทับซ้อนยุคสมัย ศาสนาพุทธเจริญรุ่งเรืองมานานแล้ว ดังจะเห็นได้จากการทำใบเสมา หลักเสมา ที่บ้านเปาะนี้ ซึ่งน่าจะต่างยุคกัน หลักเสมาใบเสมาหินแฮ่หรือศิลาแลง ชนิดหินทราย และชนิดกรวดอัดแน่นเป็นแผ่นเสมา กรรมวิธีต่างๆ ที่ทำขึ้นเป็นความรู้เฉพาะทางของช่างโบราณ จึงเป็นอีกสถานที่ที่เราควรเข้าไปศึกษาเรียนรู้แอ่งอารยธรรมอีสานแห่งนี้ ซึ่งรอบๆ หมู่บ้านนี้ ไม่พบใบเสมาแบบเดียวกันเลย ถัดไปไม่ไกลมากนัก พบสิมและธาตุโบราณ ซึ่งเราเรียกว่า โบราณสถานดอนธาตุ....

       
โบราณสถานดอนธาตุ
โบราณสถานดอนธาตุ
(Don That Archaeological Site)
โบราณสถานดอนพระธาตุตั้งอยู่ ณ หมู่บ้านผิผ่วน ต.ค้อวัง อ.ค้อวัง จ.ยโสธร ลักษณะ เหมือนเจดีย์ หรือชาวบ้านทางอิสานเรียก ธาตุ และใกล้ๆ กันพบซากอาคารทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งน่าจะเป็นสิม โบราณสถานดอนธาตุ เป็นแหล่งโบราณสถานที่น่าไปชมอย่างยิ่ง ของอำเภอค้อวัง โบราณสถานดอนธาตุ เป็นสถานที่ที่พบมาประมาณ 200 ปี ปัจจุบันอยู่ในการดูแลขององค์การบริหารส่วนตำบลค้อวัง ซึ่งเริ่มปรับปรุงให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวมีการจัดงานนมัสการดอนพระธาตุในทุกปี จัดงานประมาณเดือนมิถุนายน ซึ่งชาวชุมชนท้องถิ่นได้ร่วมกันดูแล รักษาสืบทอดให้คงอยู่จนถึงปัจจุบัน

       
แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวที่คุณไม่ควรพลาดของ จ.ยโสธร
(Recommend tourist attractions in Yasothon Province)
  พระธาตุตาดทอง หรือพระธาตุถาดทอง (Pha that Tad Thong)
พระธาตุตาดทอง หรือพระธาตุถาดทอง
  พระธาตุตาดทอง หรือ พระธาตุถาดทอง หรือที่นิยมเรียกกันว่า ธาตุก่องข้าวน้อย ตั้งอยู่ในกลางทุ่งนาของบ้านตาดทอง ตำบลตาดทอง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ห่างจากตัวจังหวัดประมาณ 9 กิโลเมตร ไปตามทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 23 (สายยโสธร-อุบลราชธานี) กิโลเมตรที่ 194 เลี้ยวซ้ายไปอีก 1 กิโลเมตร
       
  ธาตุก่องข้าวน้อย หรือธาตุลูกฆ่าแม่ (That Kong Khao Noi)
ธาตุก่องข้าวน้อย หรือธาตุลูกฆ่าแม่
  ธาตุก่องข้าวน้อย หรือธาตุลูกฆ่าแม่ วัดทุ่งสะเดา บ้านสะเดา ตำบลตาดทอง อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร ลักษณะสถาปัตยกรรมของเจดีย์องค์ที่มีสภาพสมบูรณ์นั้น เป็นทรงบัวเหลี่ยมในผังแปดเหลี่ยมตามศิลปะพื้นถิ่นอีสาน กำหนดอายุในพุทธศตวรรษที่ 23 มีส่วนฐานเป็นชั้นหน้ากระดานขนาดเล็กเรียงลดหลั่น(เพื่อรับฐานบัว)และมีชั้นคล้ายบัวหงายขนาดใหญ่ ถัดขึ้นมาเป็นบัวแปดเหลี่ยมรับกับปลียอดและฉัตร อันเป็นลักษณะเจดีย์ที่นิยมสร้างในเมืองหลวงพระบางและเวียงจันทร์เช่นกัน..
       
For tourists, you can search for tourist attractions related to ancient sites and religious buildings on the website: www.esanart.com
     
   
     ราคาสินค้าการเกษตร
-
สถานการณ์การผลิต การค้่าข้าวโลก
-
ราคาปุ๋ยเคมี
-
ราคาเฉลี่ยรายเดือนของสินค้าสำคัญ
-
ราคาสินค้าการเกษตรตลาดสี่มุมเมือง

 

     ระบบงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
-
ระบบอินทราเน็ต (SSNET)
-
กองการเจ้าหน้าที่
-
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-MAIL)
-
สหกรณ์ออมทรัพย์กรมส่งเสริมฯ
-
ห้องสมุดความรู้การเกษตร
-
สื่อเกษตรครบวงจร
-
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
-
ระบบใบรับรองเงินเดือนข้าราชการฯ
     ระบบข้อมูลส่งเสริมการเกษตร
--
โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์
-
โครงการผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัยและได้มาตรฐาน
-
โครงการปรับปรุงฐานข้อมูลเกษตรกรรายครัวเรือน (ทะเบียนเกษตรกร)
-
ระบบการขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชเศรษฐกิจหลัก ปี 2565/66
-
ระบบสารสนเทศการผลิตทางด้านการเกษตร
-
วิสาหกิจชุมชน
-
สถาบันเกษตรกร
-
ารจัดการความรู้ KM
-
อาสาสมัครเกษตร
-
ปฏิทินการปฏิบัติงานตามระบบกรมฯ
-
ระบบข้อมูลสารสนเทศกรมส่งเสริม
     หน่วยงานเกษตรจังหวัดยโสธร
-
สำนักงานเกษตรจังหวัดยโสธร
-
สำนักงานเกษตรอำเภอเมือง
-
สำนักงานเกษตรอำเภอคำเขื่อนแก้ว
-
สำนักงานเกษตรอำเภอเลิงนกทา
-
สำนักงานเกษตรอำเภอป่าติ้ว
-
สำนักงานเกษตรอำเภอทรายมูล
-
สำนักงานเกษตรอำเภอกุดชุม
-
สำนักงานเกษตรอำเภอไทยเจริญ
-
สำนักงานเกษตรอำเภอมาหาชนะชัย
     หน่วยงานสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
-
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
-
กรมส่งเสริมการเกษตร
-
กรมวิชาการเกษตร
-
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์
-
กรมชลประทาน
-
กรมประมง
-
กรมปศุสัตว์
-
กรมส่งเสริมสหกรณ์
-
กรมพัฒนาที่ดิน
-
กรมการข้าว
-
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
-
สสข. 4 จังหวัดขอนแก่น

 

 

     

สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ 2537 : สำนักงานเกษตรอำเภอค้อวัง  ที่ตั้ง 3 ม.11 ต.ค้อวัง อ.ค้อวัง จ.ยโสธร 35160
ผู้ดูแลระบบ : นางสาวจุฬารัตน์ หมื่นสุข และ
นางสาวนาตยารัตน์  ทำชารี        E-mail : khowang@doae.go.th   โทรศัพท์ 045 - 797 057

     

 

 

นโยบายเว็บไซต์ | นโยบายการรักษาความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | นโยบายการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล | แผนผังเว็บไซต์

บราวเซอร์ที่รองรับ Edge (แนะนำ) Chrome | Firefox | Exploer 9+ | Safari

Follow us:
 
 
สถิติผู้ใช้งานเว็บไซต์

website counter


Update Date : June 05, 2025 | 21:20 PM
If you have any question or questions, please let me know : Uncle Leica

© 2006-2025 Khao Wang District Agricultural Office. Copyright © All Right Reserved.